หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยการเขียนโปรแกรม

:::::: ทบทวนความรู้ :::::: 

ฟังก์ชัน

ตัวดำเนินการบูลีน

ลิงก์โปรแกรม >>  ตัวอย่างที่ 3.2 โปรแกรมตัดเกรด 

สถานการณ์ : สถาบันการสอนแห่งหนึ่งมีการสอบวัดระดับการใช้ภาษา โดยมีคะแนน 0-100 คะแนน ผู้ที่ได้คะแนน 80 ขึ้นไป อยู่ในระดับ "ดีมาก"  คะแนน 50-79 อยู่ในระดับ "พอใช้"  คะแนนต่ำกว่า 50 อยู่ในระดับ "ปรับปรุง"

รหัสจำลอง
1. รับคะแนนสอบ
2. ถ้า คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 80 ทำ
  2.1 แสดงข้อความ "ดีมาก"
  ไม่เช่นนั้น
  2.2 ถ้าคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 50 ทำ
2.2.1 แสดงข้อความ "พอใช้"
ไม่เช่นนั้น
2.2.2 แสดงข้อความ "ปรับปรุง"

ลิงก์โปรแกรม >>  ตัวอย่างที่ 3.2.1 ประยุกต์โปรแกรมตัดเกรด 

สถานการณ์ : สถาบันการสอนแห่งหนึ่งมีการสอบวัดระดับการใช้ภาษา โดยมีคะแนน 0-100 คะแนน
ผู้ที่ได้คะแนน 80 ขึ้นไป อยู่ในระดับ "ดีมาก"
คะแนน 50-79 อยู่ในระดับ "พอใช้"
คะแนนต่ำกว่า 50 อยู่ในระดับ "ปรับปรุง"
มีการกำหนดให้มีค่า 0-100 ปรับปรุงให้ครอบคลุมคะแนนที่ต่ำกว่า 0 หรือเกิน 100 ให้โปรแกรมรับคะแนนอีกครั้ง และเปลี่ยนตัวละครแสดงอารมณ์ที่สอดคล้องกับระดับของคะแนน


การรับค่าและส่งค่าให้ฟังก์ชัน

ลิงก์โปรแกรม >>  ตัวอย่างที่ 3.3 โปรแกรมวาดรูปบ้านของเรา

สถานการณ์ : นักเรียนสร้างโปรแกรมวาดบ้านที่ประกอบด้วยกำแพงบ้านและหลังคา โดยออกแบบโปรแกรมให้มี 3 ฟังก์ชัน คือ
ฟังก์ชันวาดกำแพงบ้าน
ฟังก์ชันวาดหลังคา
ฟังก์ชันประกอบตัวแพงและหลังคาเข้าด้วยกัน


ลิงก์โปรแกรม >>  ตัวอย่างที่ 3.3.1 โปรแกรมวาดรูปบ้านให้ตัวละคร

สถานการณ์ : นักเรียนสร้างโปรแกรมวาดบ้านที่ประกอบด้วยกำแพงบ้านและหลังคา โดยออกแบบโปรแกรมให้มี 3 ฟังก์ชัน คือ
ฟังก์ชันวาดกำแพงบ้าน
ฟังก์ชันวาดหลังคา
ฟังก์ชันประกอบตัวแพงและหลังคาเข้าด้วยกัน
เพิ่มเติมตัวละคร จำนวน 3 ตัวละคร จากนั้นวาดรูปบ้านให้ตัวละครทีละ 1 หลัง โดยมีการขนาดแตกต่างกัน


ตัวอย่างโปรแกรมจากการใช้ฟังก์ชัน